แผนปฏิบัติงานและงบประมาณโครงการส่งเสริมการเกษตร จังหวัดสกลนคร

ที่โครงการเป้าหมายหน่วยนับงบประมาณแหล่งงบประมาณ
1ส่งเสริมการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตจังหวัดสกลนคร20กลุ่ม7,080,000จังหวัด
2ส่งเสิรมและพัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัย2000ราย7,171,900จังหวัด
3เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและพัฒนาข้าวหอมมะลิตามมาตรฐานอินทรีย์500ราย3,502,150กลุ่มจังหวัด
4อาสาสมัครเกษตร 450ราย126,200กรมฯ
5พัฒนาเครือข่ายงานส่งเสริมการเกษตร 1หน่วยงาน10,000กรมฯ
6เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร 485ราย180,000กรมฯ
7ขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 360ราย193,400กรมฯ
8ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อย 1แปลง31,840กรมฯ
9ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไผ่และหวายเพื่อความยั่งยืน 90ราย162,000กรมฯ
10ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสมุนไพร 30ราย40,500กรมฯ
11โครงการส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากน้ำชลประทาน (อ่างเก็บน้ำห้วยหวดจ.สกลนคร) 100ราย37,500กรมฯ
12โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริ 30ไร่30,000กรมฯ
13โครงการพัฒนาเพื่อเสริมความมั่นคงเฉพาะพื้นที่ภูผายล 150ราย47,500กรมฯ
14โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน 150ราย30,000กรมฯ
15คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ 500ราย60,000กรมฯ
16โครงการเกษตรอาหารกลางวัน 30ราย213,000กรมฯ
17โครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันสินค้าเกษตรแปรรูป 20ราย8,000กรมฯ
18โครงการขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร 42750ครัวเรือน373,350กรมฯ
19ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยววิถีเกษตร 1แหล่ง25,000กรมฯ
20เพิ่มประสิทธภาพการผลิตสินค้าเกษตรมันสำปะหลัง 60ราย71,000กรมฯ
21เพิ่มประสิทธภาพการผลิตสินค้าเกษตรปาล์มน้ำมัน 40ราย32,000กรมฯ
22ส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร 50ราย27,700กรมฯ
23พัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน 80ราย80,000กรมฯ
24ส่งเสริมการอารักขาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 105ราย23,500กรมฯ
25ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ 0แปลง1,726,200กรมฯ
26ตลาดเกษตรกร 1จังหวัด23,550กรมฯ
27พัฒนาเกษตรปราดเปรื่อง (SmartFarmer) 400ราย240,000กรมฯ
28ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 540ราย1,776,790กรมฯ
29โครงการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก(Agri-Map) 40ราย56,000กรมฯ
30การพัฒนาการผลิตเกษตรอินทรีย์ 50ราย41,000กรมฯ
31ส่งเสริมการหยุดเผาในพื้นที่การเกษตร 240ราย96,000กรมฯ
32ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนสินค้าเกษตรไปสู่สินค้าใหม่ตามศักยภาพพื้นที่ (ไม้ดอก)ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20ราย281,400กรมฯ
รวมงบประมาณ23,797,480

ที่โครงการเป้าหมายหน่วยนับงบประมาณ (บาท)แหล่งงบประมาณ
1โครงการส่งเสริมการผลิตพืชเศรษฐกิจหลักในเขตพื้นที่นาไม่เหมาะสมจังหวัดสกลนคร14,800ไร่10,000,000จังหวัด
2โครงการส่งเสริมหมู่บ้านเกษตรผสมผสานจังหวัดสกลนคร124ตำบล7,764,400จังหวัด
3โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน4,000ไร่2,324,000กลุ่มจังหวัด
4โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่มข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของกลุ่มจังหวัด1,000ไร่1,866,100กลุ่มจังหวัด
4โครงการส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากน้ำชลประทาน (อ่างเก็บน้ำห้วยหวด)160ราย272,000กรมฯ
5โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริ30ไร่140,000กรมฯ
6โครงการพัฒนาเพื่อเสริมความมั่นคงเฉพาะพื้นที่ภูผายล50ราย77,500กรมฯ
7โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ600ราย120,000กรมฯ
8โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน30โรงเรียน243,000กรมฯ
9โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน150ราย54,000กรมฯ
10โครงการพัฒนาเกษตรกรเป็น Smart Farmer180ราย126,800กรมฯ
11โครงการอาสาสมัครเกษตรกร400ราย323,200กรมฯ
12โครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร185ราย119,000กรมฯ
13โครงการส่งเสริมเคหกิจเกษตรเพื่อความมั่นคงด้านอาหารในครัวเรือนและชุมชน30ราย42,000กรมฯ
14โครงการสนับสนุนเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยประกอบอาชีพเสริม30ราย12,000กรมฯ
15โครงการตลาดเกษตรกร1แห่ง22,000กรมฯ
16โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่และเกษตรกรรมยั่งยืน180ราย470,000กรมฯ
17โครงการขับเคลื่อนการทำงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่18ศูนย์79,200กรมฯ
18โครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรและวิสาหกิจชุมชน360ราย280,450กรมฯ
19โครงการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ18จุด202,000กรมฯ
20โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่11จุด777,700กรมฯ
21โครงการเกษตรอินทรีย์30ราย616,000กรมฯ
22โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร18ศูนย์2,032,600กรมฯ
23โครงการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน470ราย587,400กรมฯ
24โครงการปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกร193,000ครัวเรือน1,637,400กรมฯ
25โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน2แห่ง126,000กรมฯ
รวมงบประมาณทั้งสิ้น 23,430,000 บาท